ทุกข์เพราะรูปนามไม่รู้จักกัน
ความจริงกาย ก็คือส่วนหนึ่งของรูป
ไม่ได้ทุกข์
ใจก็เป็นส่วนหนึ่งของนาม
มันก็ไม่ได้ทุกข์มาก่อนเหมื
ถ้าต่างคนต่างอยู่
แต่ถ้าไม่รู้จักมันให้ชัดๆ
กายก็ทำให้ใจเป็นทุกข์
ใจก็ทำให้กายเป็นทุกข์
เพราะอะไรจึงเป็นเช่นนั้น?
ก็ต่างก็ไม่รู้จักกันไงล่ะ
เราลองมาดูตัวอย่าง
ที่เป็นรูปธรรมต่อไปนี้
เวลาเราแบมือ แล้วกางนิ้วออก
เรียกกันว่านิ้วมือ
เวลากำมือเข้า
เราเรียกว่ากำปั้น
เวลากำมือ
รูปของนิ้วมือหายไป
เวลาแบมือออก
รูปของกำปั้นก็หายไป
รู้สึกใจไม่ใช่มือ
มาดูสมมุติที่ลึกลงไปอีกนิด
เวลากำมือแน่นเข้า
เรารู้สึกสบายหรือไม่สบาย
รู้สึกไม่สบายเหมือนตอนแบใช
เวลาแบออก
ความรู้สึกสบายมาจากไหน?
แล้วเจ้าความไม่สบายหายไปไห
ในที่นี้อยากถามว่า
ความรู้สึกสบายหรือไม่สบาย
เกิดจากมือที่มือกำหรือที่ม
เกิดที่กายหรือเกิดที่ใจ?
มือไม่ใช่เรา
ทั้งมือกำหรือมือแบ เราเรียกว่ารูป
ถ้ารูปกำมันก็หนัก แต่ถ้ารูปแบมันก็เบา
ก็จะเห็นความจริงว่า
มือก็ยังคงเป็นมือ ใจก็ยังเป็นใจ
แต่ความรู้สึกหนัก และรู้สึกเบาก็จะหายไป
เพราะฉะนั้น ทุกข์ไม่ได้เกิดจากมือ
และก็ไม่ได้เกิดจากใจ
แต่เกิดความรู้ผิดๆ ที่คิดว่ามือเป็นเรา
และเกิดจากความเข้าใจผิด
ที่คิดว่าเรากำมือ เราแบมือ
และรู้สึกว่ามีเราเป็นผู้หน
ดังนั้น ความทุกข์เกิด
เพราะความสำคัญผิดของเราเอง
ที่คิดว่ามีเราเป็นผู้รับรู
เพราะฉะนั้น ให้ทำความเข้าใจ
กับตัวอย่างที่กล่าวมาให้ชั
แล้วจะเข้าใจรูปนามในส่วนอื
ความรู้สึกหนักเป็นรูป
รู้ว่าหนักเป็นนาม
รูปหายไป นามเกิด
ที่ใดมีรูป ที่นั่นมีไตรลักษณ์
จิตของเรา มันคือตัวรู้ที่เป็นกลางๆ
เมื่อความคิดผ่านเข้ามา
แล้วผ่านไป ทุกข์ก็ยังไม่เกิด
เพราะความคิดก็เป็นเพียงรูป
แต่เมื่อไรเราเผลอสติ
สำคัญผิดคิดว่าเราเป็นผู้คิ
นามรูปจึงปรากฏตัวทันที
แต่ก็ยังเป็นส่วนหนึ่งของเห
ยังไม่ใช่ตัวทุกข์ที่เต็มร้
แต่มันจะก่อเกิดนามรูป
อายตนะ ผัสสะ เวทนา
อย่างรวดเร็วดุจสายฟ้าแล่บ
และมันจะเป็นที่ตั้งลงของกฎ
อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
หรือไตรลักษณ์ในทันที
เพราะขึ้นชื่อว่ารูป
ไม่ว่าหยาบ กลาง ละเอียดขนาดไหน
ก็เป็นที่ตั้งของไตรลักษณ์ไ
แต่กฎไตรลักษณ์จะไม่สามารถ
เข้าถึงนามหรือปรมัตถะสภาวะ
เพราะไม่มีที่เกาะเกี่ยว
ไม่มีเหตุให้ปรุงแต่งได้
ทุกข์เพราะมีรูปอยู่ในนาม
ถ้าเราฝึกฝนสติปัญญาอย่างถู
ตามหลักของสติปัฏฐาน ๔
ตามเฝ้าดูจิต ปลดปล่อยรูปทุกประเภท
ที่เข้ามาเกาะเกี่ยวเหนี่ยว
ให้เหลือแต่ตัวรู้เท่าทัน คือนาม
ทุกข์ก็เกิดไม่ได้
ความรู้ที่เป็นสัมมาทิฏฐิ
คือการรู้รูปรู้นาม รู้กายรู้ใจ
ตามความเป็นจริง
แล้วไม่ไปยึดกายว่าเป็นเรา
ยึดใจว่าเป็นเรา
เห็นกายก็คือกาย เห็นใจก็คือใจ
ความปรุงแต่งเป็นนามรูป
เราไม่ต้องไปหารายละเอียดมั
แค่ปรุงแต่ง
อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ต้องเกิดทันที
ถ้ามีรูปนาม นามรูปก็เกิด
ถ้าเมื่อไรมีนามอย่างเดียว ไม่มีรูป
ทุกข์ก็ดับ
จำคอนเซ็ปต์หลักๆ นี้ไว้แล้วกัน
ทุกสิ่งเป็นเพียงรูปนาม
การเห็นถูกต้องหรือสัมมาทิฏ
ในภาษาของหลวงพ่อเทียนคือ
เห็นว่าทุกสิ่งเป็นเพียงรูป
แต่ในเบื้องต้น
เราไม่สามารถเห็นแบบนั้นได้
เพราะเรายังไม่รู้จักรูปนาม
การที่เราจะไปเห็นทุกอย่าง
ที่อยู่ข้างหน้าเราเป็นรูปน
เราต้องเห็นตัวเราเอง
เป็นรูปนามให้ได้ก่อน
รูปนามอยู่ที่กาย นามรูปอยู่ที่ใจ
ความรู้สึกสบายและไม่สบายทา
เรียกว่า“รูปนาม”
สำหรับความรู้สึกที่เกิดในจ
เราไม่สบายใจ รู้สึกเบื่อ รู้สึกหงุดหงิด
และปล่อยจิตคิดไปตามอาการขอ
เรียกว่า “นามรูป”
แต่ถ้ารู้สึกรู้เห็นอาการทา
และจิตไม่เข้าไปเป็นด้วย
แต่ทำหน้าที่เป็นผู้รู้อากา
เรียกว่านามล้วนๆ
หรือสมมุติเรียกว่าสติ สมาธิ ปัญญา ก็ได้
ฉะนั้นถ้ามันเกิดที่กายอย่า
มันเป็น “รูปนาม”
แต่พอไปเกิดกับใจเรียกว่า“น
แต่ตัวผู้รู้ทั้ง ๒ ส่วนนั้น เรียกว่า“นาม”
สติเป็นนาม สมาธิเป็นนาม
ปัญญาเป็นนามล้วนๆ
สติ สมาธิ ปัญญาไม่ใช่รูปนาม
และไม่ใช่นามรูป
แต่ว่ามันเป็นนาม มันเป็นผู้รู้นั่นเอง
ไตรลักษณ์ทำให้เกิดรูปทุกข์
ในขณะที่เราปฏิบัติ
เราต้องพยายามเห็นอาการทั้ง
คือ รูปนาม นามรูป และนามล้วนๆ
ให้ชัดๆ ไว้เสมอ
ว่าอาการแบบไหนที่เป็นรูปนา
แบบไหนเป็นนามรูป
และแบบไหนที่เรียกว่านามล้ว
คือสติ สมาธิปัญญานั้นเอง
แต่เราจะไปห้ามไม่ให้เกิด
อาการไม่สบายทางกาย
เช่นปวดขาเป็นต้น ไม่ได้
และห้ามไม่ให้เกิด
อาการจิตคิดปรุงแต่ง
ไม่ให้มันเบื่อ มันเซ็ง ก็ห้ามไม่ได้
เพราะมันเป็นไตรลักษณ์
คือมันเป็นธรรมดาของมันอย่า
ทุกรูปทุกนาม
อาการของอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
เกิดกับ “รูปนาม” เรียกว่า “รูปทุกข์”
ถ้าจิตไปทุกข์กับมันด้วยเรี
นี้เป็นภาษาหลวงพ่อเทียน
อาจจะไม่มีในตำรา
ธรรมดาธรรมชาติเหล่านี้มีอย
เราจะรู้ธรรมะ หรือไม่รู้ธรรมะมันก็มี
แต่ถ้าเราเป็นผู้รู้จักเรื่
ของอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
จะทำให้เราได้รู้ได้เห็นว่า
และเราจะเริ่มเรียนรู้สัจจธ
และสามารถพัฒนากำลังของสติ สมาธิ ปัญญา
ให้รู้เท่าทันการทำงาน
ของกฏไตรลักษณ์ทั้ง ๓ มากขึ้นเรื่อยๆ
รูปทำ นามทำ
หลวงพ่อเทียนเน้นอย่างจงใจว
ความจริงในภาคปฏิบัติ
ต้องใช้คำว่า รูปทำ นามทำ
สำหรับรูปธรรม นามธรรม ท่านบอกว่า
เป็นภาษาที่ถูกต้องตามหลักป
แต่คำว่ารูปทำ นามทำ หมายถึง
อาการของรูปที่กำลังทำงานอย
ทำหน้าที่ของรูปตลอดเวลา มันทำอะไรบ้าง
เช่นขณะที่เรานั่งอยู่ รูปมันก็ทำงานตลอดเวลา
คือทำหน้าที่ของไตรลักษณ์
มันเปลี่ยนแปลงให้เรารู้เห็
การเปลี่ยนแปลงของมัน
ทำให้เกิดความรู้สึกไม่สบาย
หรือเป็นทุกข์ทางกาย
เกิดดับสลับสับเปลี่ยนกันตล
ผลของมันออกมา ทำให้เราคอยแก้ไข
ปรับเปลี่ยนเอาความไม่สบายน
ออกไปเรื่อยๆ ที่เราเรียกว่า บำบัดทุกข์
และการบำบัดทุกข์
ทำให้เราต้องเคลื่อนไหวตัวเ
ไม่เคยหยุดหย่อน
รูปทำหน้าที่หายใจของมันเอง
เราจะไปห้ามมันหยุดก็ไม่ได้
บอกให้มันมากน้อยก็ไม่ได้
มันทำของมันอยู่อย่างนั้น
ลมหายใจและการหมุนเวียนของเ
ทำให้รูปทำงานเรียกรูปทำ
รูปทำงานแล้วทำให้ตาเราเห็น
สมมติเลือดเราหยุด เราไม่หายใจ
ตาเราก็ไม่เห็น หูเราก็ไม่ได้ยิน
จมูกก็ไม่ทำหน้าที่ ลิ้นก็ไม่ทำหน้าที่
กายก็ไม่ทำหน้าที่
รูปมันทำงาน ทำให้ตาเห็น หูได้ยิน
เขาเรียกรูปทำ
เย็น ร้อน อ่อน แข็ง เคร่ง ตึง
รูปก็ทำของมัน เป็นรูปทำ
แต่มันยังไม่เป็นรูปธรรม และไม่เคยเบื่อหน่าย
จนการเคลื่อนไหวกาย หรือรูปนาม
เกิดเป็นความเคยชิน
เป็นอัตโนมัติของทุกสัตว์ทุ
ดังนั้น เราไม่ต้องสงสัยเลยว่า
การเฝ้าดูกายเคลื่อนไหว
เฝ้าดูใจนึกคิดตามสูตรหลวงพ
มันก็คือการตามดูเหตุและผลข
ทั้งกายและใจ ที่เป็นกระแสขับเคลื่อน
ส่งทอดมาจาก อนิจจัง ทุกขัง อนัตตานั้นเอง
แล้วมันก็ไปตรงกับหลักของอร
อย่างสนิทและกลมกลืน
นามทำงานตลอดเวลา
ท่านบอกว่า นามคือจิตวิญญาณ
หรือตัวรู้สึก
มันก็ทำงานตลอดเวลาเช่นกัน
นามทำก็เหมือนกัน
นามทำงานอะไร
ตาเราเห็นเป็นหน้าที่ของรูปด้วย
และของนามด้วยตาทำหน้าที่เห็น
ใจทำหน้าที่รู้จักว่าเป็นอะไร
ถ้าเราลืมตามา จะไม่ให้ใจมันรู้ก็ไม่ได้
นามมันทำงานทางตา
เวลาได้ยินเสียงจะมาบอกว่าอย่าได้ยิน
ว่าเป็นเสียงอะไรก็ไม่ได้
เรียกว่านามมันทำงานเวลาอากาศเย็น หนาว ร้อน
จะไปห้ามร่างกายไม่ให้หนาว
ไม่ให้ร้อนก็ไม่ได้
เพราะใจมันไปรู้ว่าเป็นร้อนเป็นหนาว
เรียกนามทำ
แต่ส่วนใหญ่เรามองไม่ค่อยออก
ไม่ค่อยได้เห็นชัดเจน
ว่าจิตมันทำงานอยู่หลวงพ่อเทียนท่านแยกว่า
ตอนแรกเป็นรูปทำงานก่อน
ต่อมารูปจะเป็นธรรมะก็ต่อเมื่อ
มีสติ สมาธิ ปัญญา
รูปทำงานร่วมกับนาม
“รูปทำ” เป็นหน้าที่ของรูป
ตาหูจมูกลิ้นกาย
รูปทำงานร่วมกับนามอย่างไร?
ใจทำหน้าที่ของมัน
เราจะรู้หรือไม่รู้ก็ตาม
มันทำงานของมันอย่างนั้น
รับรู้ตาหูจมูกลิ้นกาย
เราเรียกว่าวิญญาณรับรู้
ไม่ว่าคนหรือสัตว์มีรูปทำ นามทำ
เหมือนกันหมด
ส่วนรูปทำ มันจะเปลี่ยนเป็นธรรมะเมื่อ
นามทำ มันจะเปลี่ยนเป็นธรรมะเมื่อ
ตรงนี้สำคัญ มันจะเป็นธรรมะก็ต่อเมื่อ
รูปทำงาน แล้วเรามีใจเข้าไปรู้ตาม
เช่นเราหายใจ
เมื่อตัวรู้ เข้าไปตามดูลมหายใจ
ขณะหายใจเข้า สติก็ตามรู้
หายใจออก สติก็ตามไปรู้
ทุกส่วนของกายที่เคลื่อนไหว
ด้วยอำนาจของทุกข์
ที่เกิดจากกฏของไตรลักษณ์
สติก็ตามรู้
ตรงนี้ ก็เกิดเป็น
รูปธรรม นามธรรม ขึ้นแล้ว
เป็นรูปธรรม นามธรรม เพราะมีสติ
ตัวสติเข้าไปรับรู้การทำงาน
เกิดเป็นรูปธรรมขึ้นมา
แต่ไหนแต่ไร เราหายใจตั้งแต่เล็กจนโต
มันก็เป็นเพียงรูปทำ
ขาดสติเข้าไปตามรู้
มันจึงไม่เป็นรูปธรรม
แต่เมื่อเราได้ฟังคำสอนของพ
ถึงเรื่องเจริญสติปัฏฐาน ๔ แบบต่อเนื่อง
โดยเอาสติ หรือตัวรู้
ไปตามดูลมหายใจเข้า หายใจออก
นามธรรมมันก็เกิด
ดังนั้น ตามหลักปฏิบัติและเข้าใจแบบ
กายมันจะเป็นธรรมะเมื่อไรก็
แต่ถ้าเราจะลุก นั่ง ย่าง เดินเวลาใด
เราก็ลุกไปเลย อันนี้เรียกว่า มีแต่รูปทำ
แต่พอเรามีสติเข้าไปตามรู้
ลุกขึ้นก็รู้ เดินก็รู้
การทำงานของรูป
กลายเป็นรูปธรรม นามธรรมทันที
รูปทำเป็นสัญชาตญาณ รูปธรรมเป็นปัญญาญาณ
ดังนั้น คำว่า“รูปทำ”
จึงเป็นเรื่องของรูปทำงาน
ด้วยการบำบัดทุกข์ตามธรรมชา
ตามความเคยชิน
หรือทำตามสัญชาตญาณ
แต่ถ้าเป็น “รูปธรรม”
มันเป็นการทำงานของสติสัมปช
ตัวรู้สึกที่ตามรู้เห็นบ่อย
จึงถูกเปลี่ยน “ปัญญาญาณ” ขึ้นมา
แทนที่จะเป็นเพียงสัญชาตญาณ
ส่วน “ปัญญาญาณ”
จะเกิดมากน้อยเท่าใด
ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของ
อินทรีย์ ๕ และพละ ๕ อีกทีหนึ่ง
รูปโรค นามโรค
รูปทำก่อให้เกิดเป็นรูปธรรม
รูปโรคนามโรคเรียกอีกอย่างห
๑. โรคโดยสภาวะ เกิดจากไตรลักษณ์ของกายและใจโดยตรง เช่นเมื่อเรานั่งนานมันเป็น
๒. โรคโดยสมุฏฐาน เกิดจาก กรรม จิต อุตุ อาหาร ทำให้เกิดความผิดปกติในร่าง
กรรม
เราเดินไม่ระวัง
เอาหัวแม่เท้าไปเตะหินเข้า
เกิดบาดแผล
การที่เราเอาเท้าไปเตะหิน
เป็นกายกรรม
แต่ถ้าเราเดินอย่างระมัดระว
เราก็จะไม่ไปเตะหิน
กรรมนี้จึงป้องกันได้
โดยมีสติเข้าไปรักษา
จะเป็นกรรมหนักหรือกรรมเบา
ขึ้นอยู่กับมีสติมากหรือน้อ
ถ้าขาดสติมากๆ ล้มเต็มที่
ก็อาจจะเป็นอัมพฤกษ์อัมพาตไ
จิต
รูปเสียงกลิ่นรสสัมผัสเป็นข
เมื่อจิตของเราไปสัมผัส
ก็ยิ่งร้อนเข้าไปอีกถ้าเราสัมผัสไม่ถูก
เราก็คิดปรุงแต่งขึ้นมา
เป็นความอยาก ความไม่พอใจความโลภ ความโกรธ ความหลง
ก็เป็นของร้อน
เมื่อเราเพิ่มความร้อนให้กั
และจิตส่งความร้อนสู่กาย
กายถูกเผามากเข้า
เซลในร่างกายก็ตาย
ระบายออกไม่ทัน กลายเป็นมะเร็ง
เบาหวาน ความดัน หัวใจเราก็เอาสติปัญญาเข้าไปแก้
สังเกตร่างกายของเรา
สังเกตอารมณ์ที่เราคิด
เป็นเรื่องดีหรือไม่ดี
ถ้าเป็นเรื่องไม่ดีก็ร้อนแน
ถ้าปรุงแต่งคิดไปทาง
เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา
เป็นเรื่องเย็น จิตเราก็จะเย็นทุกวันนี้คนจึงตกนรกกันมาก
เพราะสั่งสมความร้อนที่มาจา
ความร้อนคือไฟ เรียกว่าไฟนรก
ใครที่มีโรคมากก็ตกนรกมาก
โรคทางจิตก็เช่นกัน
ใครที่ติดอารมณ์มากๆ
จิตไม่เป็นอิสระก็ตกนรกหลาย
คนไหนไม่พอใจนานๆ
ก็ไปติดนรกชั้นนั้นนานหน่อย
แต่คนไหนออกจากอารมณ์นั้นได
จิตใจปลอดโปร่ง
ก็ออกมาจากนรกชั้นนั้นได้เร
เราจะออกจากนรกได้ต้องอาศัย
สติ สมาธิ ปัญญา
ถ้าเราไม่เจริญสติ สมาธิ ปัญญา
เราจะออกจากนรกไม่ได้เลย
อุตุ
ที่มีอยู่ในร่างกายของเรา
ถ้าพลังงานในร่างกายเราอ่อน
เรียกว่าภูมิต้านทานต่ำ
ธาตุของเราต่ำ ก็ต้องเพิ่มพลังเข้าไปพลังปราณต่างๆ
ก็คือพลังของตัวสมาธินั่นเอ
พลังทางรูป ได้แก่
มีร่างกายดี มีสุขภาพดี
มีการออกกำลังกายเป็นประจำ
พลังใจดีก็มีการเจริญสติสมา
โรคภัยไข้เจ็บก็เกิด
โรคที่เกิดจากอุตุ
จึงต้องแก้ด้วยสติ
สมาธิ ปัญญา เหมือนกัน
อาหาร
หรืออาหารที่มีส่วนผสม
ตรงกันข้ามกับธาตุของเรา
ก็เป็นเหตุให้เกิดโรคได้
การมีสติ สมาธิ ปัญญา
ในการรับประทานอาหาร
ก็ช่วยป้องกันรักษาโรค
ที่เกิดจากอาหารได้เช่นกัน
เห็นไตรลักษณ์หมื่นครั้ง
ก็รู้วิธีแก้โดยการเจริญสติ
เจริญสติ สมาธิ ปัญญา บ่อยๆ
ก็จะเห็นความเป็นอนิจจัง
ทุกขัง อนัตตา ของรูปนามเมื่อเห็นบ่อยเข้าก็เกิดปัญ
แต่ถ้าไม่เห็นบ่อยๆ ปัญญาก็ไม่เกิด
ต้องเป็นร้อยครั้ง พันครั้ง
หมื่นครั้ง แสนครั้ง ปัญญาจึงจะเกิดก็ต้องดูบ่อยๆ ดูตั้งแต่เช้าจรดเย็น ดูทุกวัน
หลวงพ่อเทียนจึงให้เข้าเก็บ
เพื่อดูอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
ตลอด ๒๔ ชั่วโมงเมื่อดูจนสุกงอม
ก็จะเกิดปัญญาสว่างโพล่งขึ้
มันเห็นความจริง เกิดนิพพิทาวิราคะ
เกิดความเบื่อหน่ายคลายจาง
การยึดมั่นถือมั่น
เห็นรูปนามแล้วก็จะเห็นไตรลักษณ์
ถ้ามีสติเข้าไปกำหนดรู้
เรียกว่ารู้รูปโรค นามโรค
กลายเป็นรูปธรรม นามธรรม
และกลายเป็นตัวปัญญาแต่ถ้าไม่มีสติไปกำหนดรู้
ก็แก้ไขได้เหมือนกัน
แต่เป็นแบบสัญชาตญาณ
ซึ่งเป็นโมหะแต่ท้ายที่สุดเราก็จะพบว่า
โรคทั้ง ๒ นี้ มีที่มาเดียวกัน
คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตาเท่านั้นตามขั้นตอนของหลวงพ่อเทียน
เมื่อเรารู้จักรูปนาม
รูปทำ นามทำ รูปโรค นามโรค
ก็จะรู้จักอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา โดยอัตโนมัติ
สิ่งที่ท่านนำมาสอน
คือนำเอาตัวสภาวะที่ปรากฏอยู่ มาแยกย่อย
ให้เห็นรายละเอียดของมัน
ตัวสังเกตของเราก็ลึกขึ้น
สำรอกกิเลส
ถ้ายังไม่เกิดปัญญา
เราทำเป็นไม่ยึดมั่นถือมั่น
เป็นเพียงสมมติ
แต่ตัวยึดมั่นถือมั่น
มันจะหายไปไม่กลับมา
ต้องเกิดนิพพิทาญาณ นิพพิทาวิราคะ
เกิดความเหนื่อยหน่ายในสิ่ง
เหมือนกับเราไปกินของแสลง
ทำอย่างไรจึงจะสำรอกออกมาได
เมื่อมันออกไปแล้วก็โล่งเลย
อาการของทุกข์ก็เหมือนกัน
ให้มันสำรอกออกมา
มันถึงจะเกิดความเหนื่อยหน่
ต่อมาก็เกิดการปล่อยวาง
ความยึดมั่นถือมั่น
จิตเราก็เป็นอิสระขึ้น
เห็นอะไรก็เฉยๆ ไม่อยากได้
เห็นสิ่งที่ชอบก็เฉยๆ
เห็นสิ่งที่ชังก็เฉยๆ
เพราะรู้ว่ามันมีพิษ
มันก็ไม่สะสมตัวอุปาทาน
สิ่งที่ดีทำให้เราเป็นทุกข์
สิ่งที่ไม่ดีก็เป็นทุกข์
แต่จะสลัดได้เร็วกว่า
เพราะอัตตาเป็นรากที่ลึก
Direk Saksith
www.buddhayanando.com
f: พระพุทธยานันทภิกขุ, พลิกใจให้ตื่นรู้,
หลวงพ่อมหาดิเรก พุทธยานันโท, เซนสยาม,
Dynamic Meditation (นวัตกรรมแห่งสติ)