ถอดพระธรรมเทศนาประกอบเสียง แสดงธรรมโดย หลวงพ่อมหาดิเรก พุทธยานันโท จากไฟล์เสียงชุดธรรมจัดสรร ณ วัดดอย
การเจริญสติที่เราทำอยู่
ต้องเข้าใจคอนเซ็ปต์หลักให้ ชัดเจน
ไม่เช่นนั้นเราจะเกิดความลั งเลสงสัย
ในการปฏิบัติ
ในวิธีการหลวงพ่อเทียน
เน้นการตื่นรู้ เบิกบานเป็นหลัก
ตัวตื่นรู้โดยอาศัยการเคลื่ อนไหวเป็นที่ตั้ง
ตลอดเวลา
โดยไม่อาศัยความสงบแบบหลับไ หล
แต่อาศัยการตื่นรู้ด้วยใจที ่เบิกบาน
ถ้าตื่นรู้ด้วยใจไม่เบิกบาน ก็ยังไม่ถูก
ต้องหาต่อไปว่าเราก็ตื่นรู้ อยู่
ทำไมใจมันหดหู่ เศร้าหมอง เงียบเหงา เศร้าซึม
เพราะอะไร ต้องหาต่อไปอีก
พบตัวตื่นรู้แล้ว แต่ยังหาตัวเบิกบานไม่เจอ
เพราะอะไร? นี่คือสิ่งที่เราปฏิบัติอยู ่
แต่ในบางครั้งเมื่อมันมีอุณ หภูมิสูง
แม้ว่าต้นไม้นั้นได้รับปุ๋ย และน้ำอย่างดี
แต่มันก็เฉาเวลาแดดจัดๆ
เราต้องเข้าใจสิ่งแวดล้อมด้ วย
แม้ว่าเราตื่นรู้แล้ว แต่ใจไม่เบิกบาน
เพราะว่าเวทนาเกิดจาก กรรม จิต อุตุ อาหาร
มันแรงเกินไป
เหมือนเราปลูกผักรดน้ำเช้าเ ย็น
เจอแสงอาทิตย์แรงจัดๆ ก็เฉา
ต้องเข้าใจธรรมชาติของรูปขอ งนามด้วย
ว่ามันเป็นที่ตั้งของความเป ลี่ยนแปลง
แปรปรวนตลอดเวลา
เราก็ต้องยอมรับความแปรปรวน ของมัน
แล้วเราค่อยใช้สติ สมาธิ ปัญญา
เข้าไปปรับแก้ให้มันทรงตัว
อย่างน้อยตื่นรู้เอาไว้ ไม่ถึงกับเบิกบาน
ก็ยังดีกว่าที่มันเฉาเหี่ยว แห้งไหม้เกรียม
เวลาเราปฏิบัติ
เราใช้ธาตุลมเพื่อการตื่นรู้เป็นหลัก
ไม่ได้อาศัยเพียงลมจากช่องใดช่องหนึ่ง
ไม่ใช่ช่องลมหายใจอย่างเดียว
แต่อาศัยลมที่มารอบด้าน
สัญลักษณ์ของลมคือการเคลื่อนไหว
หมายความว่าการเคลื่อนไหวทั้งเนื้อทั้งตัว
เรียกว่าธาตุลมมารอบด้าน
อาศัยอาการของธาตุลม
แต่ไม่ได้อาศัยลมโดยตรง
ลำพังแต่ลมโดยตรงจากลมหายใจ
กำลังมันไม่พอที่จะตื่นรู้ได้
เพราะทุกขเวทนาที่มารอบด้านมันก็แรง
อาศัยแต่แรงลมแผ่วๆ
ไฟมันไม่สามารถจะพุ่งโพลงได้
เหมือนกับไฟกองใหญ่เวลาที่มันดับ
เป่าเท่าไรมันก็ไม่ลุกไม่โพลง
ต้องใช้พัดลม ใช้เครื่องเป่าขนาดใหญ่
ไฟถึงจะโพลงขึ้นมาได้
ทุกขเวทนาอยู่ในตัวเราตั้งแต่หัวจรดเท้า
ปรากฏทุกส่วน แสบตรงนั้น คันตรงนี้
ร้อนตรงนั้น อับตรงนี้ อ้าวตรงนี้
ขัดตรงนั้น ยอกตรงนั้น
ตลอดทั่วตั้งแต่หัวจรดเท้า
อันนี้คือไฟแห่งทุกขเวทนา
มีตลอดเวลาทีเดียว
มันจะหนักจะเบาจะหนาจะบาง
แล้วแต่เหตุปัจจัยที่ประกอบให้เป็น
ไฟของเวทนามาทั้งสี่ทาง
มาจากกรรม คือการกระทำที่ไม่พอดี
มากเกินไป หนักเกินไป เหนื่อยเกินไป
ก่อให้เกิดทุกขเวทนา
จิต อารมณ์ที่เร่าร้อนรุนแรงเกิ นไป
ก็ทำให้เกิดความเร่าร้อนทาง กายทางใจ
อุตุ ดินฟ้าอากาศ
บางฤดูอากาศหนาวเกินไป เย็นเกินไป
ลมจัด แดดจัดเกินไป
อาหาร แสลงอาหารที่มีธาตุรุนแรง
อาหารที่มากเกินไป
อาหารที่ไม่ถูกกับฤดูกาล
ก่อให้เกิดความปั่นป่วนแปรป รวนได้
กรรม จิต อุตุ อาหาร
จึงเป็นเสมือนเชื้อไฟของเวท นา
ที่มันปรากฏรอบเนื้อรอบตัวข องเรา
เราบำบัดไม่ดีมันก็กลายเป็น วิบาก
ให้เราเป็นโรคภัยไข้เจ็บ
โรคปวดหัว ปวดท้อง ความดัน เบาหวาน
มะเร็ง โรคหัวใจ สารพัด
เวลาที่เราท่องคิริมานนทสูต ร
ว่าในตัวของเรามีโรคอะไรบ้า ง
ถ้าเราไม่ระวังสี่อย่าง
ไม่ระวังเรื่องกรรม จิต อุตุ อาหาร
โรคทุกโรคพร้อมที่จะมาฆ่าเร าได้ตลอดเวลา
เราต้องมีความแยบคาย มีปัญญาพอสมควร
ที่จะมาบำบัดโรคทางกายได้ปล อดโปร่ง
ถ้าเราเป็นคนประมาท ชอบกิน ชอบสนุกสนาน ชอบสบาย
ทุกรายเก้าสิบเก้าเปอร์เซ็น ต์ ต้องถูกเวทนามันฆ่าเอา
จะไปว่าเวทนามันโหดร้ายไม่ไ ด้
เพราะมันทำตามหน้าที่ของมัน
เรามีหน้าที่เกิด มันก็มีหน้าที่เสื่อม
ไม่เช่นนั้นโลกนี้ก็จะรกรุง รังไปหมด
ไม่มีตัวทำลาย คนก็จะไม่พอมีพอกิน
ทรัพยากรก็จะไม่ย่อยสลาย
เป็นไปตามกฎอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
ถ้าคนไหนต้องการอยู่แบบจิตส บายกายสงบ
เราก็ต้องแสวงหาปัญญา
จะมัวอยู่ มัวกิน มัวสนุกสนาน มัวสุขสบาย
ตายลูกเดียว ป่วยตลอดชาติ
การแสวงหาสติปัญญามาแก้ไขกฎ ของไตรลักษณ์
จะอยู่อย่างไร จะกินอย่างไร ไม่ให้มันเกิดโทษ
นั่นคือหน้าที่ของเรา พระพุทธเจ้าท่านสอนไว้หมด
แต่ถ้าเราไม่ทำตาม หรือทำตามไม่ถูก
เราก็ต้องขวนขวายหาแหล่งควา มรู้
หาทฤษฎีวิชาการ หากัลยาณมิตร ครูบาอาจารย์
มาช่วยให้เกิดสติปัญญา
เราต้องมีศรัทธา ความเพียร
ซึ่งคนแต่ละคนกว่าจะได้พบข้ อมูลที่พร้อม
ในการแก้ไขปัญหาทุกอย่างได้ ตามต้องการ
ต้องใช้เวลาครึ่งค่อนชีวิต
และครึ่งค่อนชีวิตที่ผ่านไป
ก็ไม่ใช่มาแสวงหาตอนที่มันเ กิดเหตุ
มันต้องเริ่มต้นมาแต่แรกๆ
มาแสวงหาข้อมูลตอนที่มันเกิ ดเหตุแล้วไม่ทัน
ก็ต้องรับผลไป
อันนี้คือหลักของไตรลักษณ์ท ี่ทำหน้าที่ของมัน
เราจะไม่โทษใคร
พระพุทธเจ้าให้โทษอวิชชา
คือความไม่รู้ของตัวเอง ความไม่ขวนขวาย
ความไม่แสวงหาความรู้ใส่ตัว เอง
โทษความประมาท
เราก็จะได้ไม่ไปเดือดร้อนวุ ่นวายกับคนอื่น
เราจะมาโทษตัวเองว่าเป็นผู้ ประมาทเสียเอง
เราก็จะไม่แผ่ขยายความทุกข์ ของเราไปให้คนอื่น
ให้คนอื่นต้องเดือดร้อนวุ่น วายกับเรา
ยอมรับและแก้ไขไปเรื่อยๆ
ในภาคปฏิบัติเมื่อวานให้การ บ้านไปว่า
ผู้ที่ยังไม่เข้าใจ หรือเข้าใจบ้างเล็กน้อย
ต้องกลับมาดูบทเรียนเบื้องต ้น
คือการหนักการเบา การเคลื่อนการไหว
ของร่างกายให้ชัดเจน
ไม่ต้องรีบร้อนไปคิดไปรู้อะ ไร
เอาแค่สิ่งที่เรารับรู้อยู่ ได้ชัดๆ
ตามกำลังสติปัญญาของเรา
นั่งอย่างนี้มันหนักอย่างไร
ลุกอย่างนี้มันเบาอย่างไร
เดินแล้วมันหนักอย่างไร เบาอย่างไร
สลับรู้กันไปหนักเบา
หายใจเข้ามันหนักอย่างไร
หายใจออกมันเบาอย่างไร
สังเกตไปเรื่อยๆ ในส่วนที่เป็นรูปนาม
ผู้ใหม่เบื้องต้นต้องเรียนร ู้ ศึกษา
ทำความเข้าใจเรื่องรูปนามซ้ ำๆ
จนกระทั่งใจมันยอม
ปกติใจมันไม่ยอม มันจะไปคิด
ไปหวัง ไปอยากเรื่องอื่นไปเรื่อยๆ
แต่เรามาที่นี่เราจะมายอมศึ กษาเรื่องนี้
เรื่องกายกับใจ
ยินยอมพร้อมใจที่จะดึงกายดึ งใจ
มาอยู่ด้วยกันให้ได้
ผู้ใหม่คือผู้ที่ยังไม่เข้า ใจ
บางคนปฏิบัติมานานแล้วแต่ยั งไม่เข้าใจ
ถือว่าเป็นผู้ใหม่อยู่
ผู้ที่ยังไม่เข้าใจชัดเจน
ต้องกลับมาตั้งต้นตรงนี้เสม อ
มันซ้ำซากมันเบื่ออย่างไรก็ ต้องยอม
เหมือนเด็กสอบตกชั้นป.๑
จะซ้ำชั้นอย่างไรก็ต้องยอม
เพราะมันไม่ผ่าน
เพื่อนเขาไปป.๔ ป.๕ ป.๖ ป.๗ แล้ว
เรานั่งเรียนซ้ำชั้นอยู่ป.๑ ก็ต้องยอม
เพราะเรายังอ่านไม่ออกเขียน ไม่ได้
ไปข้างหน้าก็ไม่ได้ ไปข้างหลังก็ไม่ได้
ก็ต้องยินยอม
สำหรับผู้ที่ยังไม่เข้าใจ
ต้องมาซักซ้อมเรื่องหนัก เรื่องเบา
เรื่องหยุด เรื่องเคลื่อน
ไม่ใช่เรื่องยากที่ใครจะเรี ยนรู้ได้
เป็นเรื่องง่ายๆ แต่เราจะตั้งใจรู้หรือไม่ว่ า
หยุดเป็นอย่างไร เคลื่อนเป็นอย่างไร
หนักเป็นอย่างไร เบาเป็นอย่างไร
ร้อนเป็นอย่างไร เย็นเป็นอย่างไร
ศึกษาเรื่องเหล่านี้ อาการของรูปนามทั้งหมด
สำหรับผู้ที่ยังเข้าใจไม่ชั ดเจน
ต้องกลับมาตั้งต้นเขียนเลขศ ูนย์ เลขหนึ่ง
เขียน ก ไก่ ถึง ฮ นกฮูก เขียนให้จำ
ตราบใดที่ยังจำไม่ได้
ก็จำเป็นที่จะต้องซ้ำอยู่อย ่างนั้น
เป็นปีๆ ก็ต้องยอม เพราะยังจำไม่ได้
ยังเขียนไม่ได้
เหมือนกันกับที่เรายังจำกาย ไม่ได้
ใจทำหน้าที่อะไรก็ดูไม่ออก
กายทำหน้าที่อะไรบ้างดูไม่อ อก
ลุกแล้วอาการหนักเป็นอย่างไ รยังดูไม่ออก
นั่งแล้วอาการหนักเป็นอย่าง ไร
ลุกแล้วอาการเบาเป็นอย่างไร
ก็ยังดูไม่ออก
เวลาเดินเท้าสัมผัสพื้น
อาการหนักกระจายไปตรงไหนบ้า ง
ถ้าเราไม่ตามรู้มัน เราก็เรียนซ้ำชั้นอยู่ที่เก ่า
ทุกข์ลดลงไม่ได้
พระพุทธเจ้าถึงได้บอกว่า
๑. “เอกายะโนมัคโค สัตตานัง วิสุทธิยา”
มีทางเดียว ไม่มีทางอื่นเลย
ความทุกข์ความเดือดร้อนของร ่างกายจิตใจ
มันจะลดลงด้วยวิธีนี้เท่านั ้น
จะชำระเวทนาต่างๆ ให้มันเบาบาง
ต้องทำแบบนี้
ชำระความเศร้าหมองในจิตใจให ้เบาบาง
ต้องทำทางนี้
ชำระอาสวะกิเลสสังโยชให้เบา บาง
ก็ต้องมาทางนี้
ชำระอาสวะกิเลสสังโยชให้เบา บาง
ก็ต้องมาทางนี้
๒. “โสกะปะริเทวะนัง สะมะติกกะมายะ”
เพื่อการก้าวข้ามความวิตกกั งวล
ความเดือดร้อนวุ่นวายในใจ
ความอึดอัดขัดเคือง ความเศร้าหมองในใจ
จะข้ามความรู้สึกเหล่านี้ได ้
ก็ต้องมาทางนี้ ไม่มีทางอื่นเลย
ขืนไปทางอื่นในที่สุดก็ไม่พ บทางสบาย
ต้องกลับมาทางนี้เหมือนเดิม
แล้วเราจะไปเสียเวลาคิดเรื่ องอื่นทำไม
๓. “ทุกขะโทมะนัสสานัง อัตถัง คะมายะ”
ถ้ามาทางนี้ความไม่สบายกายไ ม่สบายใจ
จะตั้งอยู่ไม่ได้
ความไม่สบายกายจะถูกบำบัดออ ก
ตลอดเวลา
ถ้าคนไหนนั่งจนเหน็บชากินแข นกินขาแล้ว
ถือว่าไม่ถูกต้อง เพราะความไม่สบายกายมันตั้ง อยู่ได้
แสดงว่าเราทำไม่ถูก
ไม่ได้มาทางนี้แต่ ไปทางอื่น
นั่งง่วงนั่งเหงา นั่งเศร้า นั่งซึม นั่งปวดแข้งปวดขา
เหน็บชากินแขนกินขา เราก็ไม่ยอมลุกเปลี่ยน
ก็ถือว่าผิดไปจากทางนี้ แต่เราก็ยังนิยมทำกัน
เพราะมีอวิชชาอยู่
ความไม่สบายกายจะตั้งอยู่ไม ่ได้
เพราะมีการพลิก การเปลี่ยน การปรับ
ตลอดเวลา
โทมะนัสสานัง ความไม่สบายใจก็ตั้งอยู่ไม่ ได้
เพราะเราคอยบำบัดแก้ไขมันตล อดเวลา
คอยดูว่าความไม่สบายใจมาจาก อาการไหนบ้าง
สติสัมปชัญญะที่เรายกมือ ปรับเปลี่ยนเคลื่อนไหว
เป็นตัวโฟกัส สอดส่องอาการความไม่สบายใจ
มีอะไรเป็นเหตุ แล้วดึงออก
เหตุที่ทำให้ใจไม่สบาย ให้ดึงออก ชำระออกตลอดเวลา
มันก็ตั้งอยู่ไม่ได้ เพราะเราดึงมันออกตลอดเวลา
ถ้ามันตั้งอยู่ได้ แสดงว่าเราไม่ได้มาทางนี้
เราปฏิบัติทางอื่นแล้ว
เรามาทางนี้เพื่อทำแบบนี้
แต่ถ้าไปทำอย่างอื่นแล้วมัน ทุกข์
ก็ต้องปล่อยเพราะไม่ทำตามที ่เราบอก
ความทุกข์กายก็ตั้งอยู่ ความทุกข์ใจก็ตั้งอยู่
เพราะเราไม่พยายามปรับเปลี่ ยนแก้ไข
๔. “ยายัสสะ อะธิคะมายะ”
เพื่อรู้ธรรมที่เราควรจะรู้
ตามกำลังสติปัญญาของเรา
เรามีกำลังห้าสิบก็รู้ได้ห้ าสิบ
มีกำลังร้อยก็รู้ได้ร้อย
รู้ตามกำลังสติปัญญาของตน
สติปัญญาของเรามีสามสิบ
จะให้มันรู้เต็มร้อยก็ไม่ได ้
ก็ต้องรู้สามสิบ
สติปัญญาเรามีแปดสิบ
จะให้มันรู้ร้อยก็ไม่ได้
ก็ต้องรู้แปดสิบ
เราต้องพอใจให้มันรู้เต็มที ่ของมัน
แต่ส่วนใหญ่เรายังไม่รู้เต็ มที่ รู้นิดๆ หน่อยๆ
ซึ่งความจริงเราสามารถรู้ได ้ถึงร้อย
มนุษย์ใช้ความสามารถในการแส วงหาการดับทุกข์
ไม่ถึงห้าเปอร์เซ็นต์
เพราะมีความอยาก ความรัก ความชัง เข้าไปหาร
คนสติปัญญาต่ำสุดต้องได้แล้ ว
ยี่สิบห้าเปอร์เซ็นต์
ความคิดร้อยเรื่อง ต้องรู้สักยี่สิบห้าเรื่อง
ถ้าไม่รู้เลยแสดงว่าวุฒิภาว ะไม่ถึง
ก็ต้องทุกข์ต่อไป
เป็นสิงสาราสัตว์ เป็นเปรต เป็นยักษ์ เป็นมาร
เป็นคนโลภ คนโกรธ คนหลง เป็นทุกข์ต่อไป
ความคิดร้อยเรื่องจะรู้สักย ี่สิบห้าเรื่อง
ไม่ได้เลยหรือ
ถ้าคุณพยายามต้องได้ไม่มากก ็น้อย
คนที่มีสติปัญญามากกว่านั้น
คิดร้อยเรื่องรู้ถึงห้าสิบเ รื่อง
ชีวิตก็จะเบาลงสักครึ่งหนึ่ ง
คนที่มีสติปัญญาสูงขึ้นไปกว ่านั้นอีก
คิดร้อยเรื่องรู้ได้เจ็ดสิบ ถึงแปดสิบเรื่อง
เราก็ต้องยอมรับว่าเขามีสติ ปัญญาดีกว่าเรา
เราได้แค่นี้ก็พอใจตามระดับ ของเรา
บางคนคิดร้อยเรื่องรู้ร้อยเ รื่องเลย
เขาไม่มีทุกข์เหลืออยู่เลย
ท่านก็ได้แบ่งการดับทุกข์ออ กเป็นสี่ระดับ
ไม่ใช่ว่าทุกคนจะดับทุกข์ได ้ร้อยเปอร์เซ็นต์
คุณดับได้ยี่สิบห้าเปอร์เซ็
คุณก็เข้าใจยี่สิบห้าเปอร์เ
ก็ทำให้ได้ยี่สิบห้าเปอร์เซ
คุณก็พออยู่ได้ อย่างน้อยไม่ตกนรกแล้ว
บางคนภายในหนึ่งชั่วโมงอาจจ
บางคนภายในหนึ่งนาทีคิดได้ร
บางคนคิดร้อยเรื่องรู้ได้ถึ
ที่ไม่รู้อีกเจ็ดสิบเรื่องก
เหมือนของร้อยชิ้น เราแบกได้ยี่สิบห้าชิ้น
กำลังของเราแบกได้แค่นี้
ปูนร้อยถุง เราแบกได้ยี่สิบห้าถุง ตามกำลังของเรา
แต่อีกคนหนึ่งมีกำลังดีกว่า
เขาแบกได้ถึงห้าสิบถุง
อีกคนหนึ่งแบกได้เจ็ดสิบถึง
อีกคนมีกำลังมากแบกได้ทีเดี
เราก็ต้องยอมรับว่าแต่ละคน
มีความรู้ความสามารถไม่เท่า
คนที่มีวุฒิภาวะที่จะรู้เรื
อย่างน้อยต้องรู้ได้ยี่สิบห
ถ้าต่ำกว่ายี่สิบห้าเปอร์เซ
ทั้งนี้ต้องใช้ความพยายาม
จู่ๆ คุณจะรู้เลยยี่สิบห้าเปอร์เ
ต้องเดินจงกรม สร้างจังหวะ ทำความเพียร
สักระยะหนึ่งไม่เกินสามวันก
แต่ถ้าคุณทำมาสิบปียี่สิบปี
แสดงว่าวุฒิภาวะไม่ถึง ก็ต้องไปทางอื่น
ไม่ใช่ทางนี้ที่จะช่วยได้แล
จะต้องมีศรัทธา ความเพียร เป็นพื้นฐาน
ไม่ใช่ว่าจู่ๆ ใครจะทำได้
ศรัทธาก็ไม่มี ความเพียรก็ไม่มาก
เอาแต่ความโลภ โกรธ หลง มาเป็นนิสัย
ก็ต้องปล่อยให้ทุกข์ไปก่อน
ต้องเวียนว่ายตายเกิดไปตามว
แต่ยังโชคดีที่ได้เกิดมาพบค
แม้จะยังเอาไปไม่ได้ ก็เรียนรู้เป็นอุปนิสัย เป็นปัจจัย
เผื่อชาติหน้าไปเกิดภพใหม่ท